แพทย์สมาคมเซลล์ฯ เผยงานวิจัยจากอเมริกา หลังทั่วโลกพบ"สารไกลโฟเสท" ปริมาณสูงใน"ถั่วเหลืองจีเอ็มโอ"ก่อให้เกิดโรคร้าย 22 โรค ชี้ไทยนำเข้า 5 ล้านตันต่อปี จี้รัฐเร่งหาทางออกจากการปนเปื้อนสารพิษด่วน!
12ปี กับฉลาก GMOs ในไทย คุณรู้หรือยัง ?
นับตั้งแต่ปี 2542 องค์กรคุ้มครองผู้บริโภคได้เคลื่อนไหวให้มีการติดฉลากจีเอ็มโอ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้มีการบังคับการติดฉลากจีเอ็มโอตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 2546 เป็นต้นไป ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 251 (พ.ศ. 2545) เรื่อง การแสดงฉลากอาหารที่ได้จากเทคนิคการดัดแปรพันธุกรรมหรือพันธุวิศวกรรม ซึ่งมีสาระสำคัญ5 ข้อ
GMOs อาหารที่เราควรจะรับหรือเลี่ยง
สถานการณ์เรื่องจีเอ็มโอ ในประเทศไทยขณะนี้ กล่าวได้ว่ากำลังมีการเคลื่อนไหวในทางนโยบายทั้งโดยฝ่ายรัฐและฝ่ายประชาชนมา โดยต่อเนื่อง และนับตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา รัฐบาลไทยได้มีนโยบายเกี่ยวกับเรื่องจีเอ็มโออยู่ 2 เรื่องคือ
ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอคืออะไร
จีเอ็มโอ หรือ GMOs ย่อมาจากคำว่า Genetically Modified Organisms หมายถึงสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ที่เกิดจากการตัดเอายีนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมายิงเข้าไปในยีนของสิ่งมี ชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งปกติไม่เคยผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติ เพื่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่มีคุณลักษณะตามต้องการ เช่น นำยีนทนความหนาวเย็นจากปลาขั้วโลกมาผสมกับมะเขือเทศ เพื่อให้มะเขือเทศปลูกในที่ที่อากาศหนาวได้ นำยีนจากแบคทีเรียชนิดหนึ่งมาใส่ในยีนของถั่วเหลือง เพื่อให้ถั่วเหลืองทนทานต่อยาปราบวัชพืช นำยีนจากไวรัสมาใส่ในมะละกอเพื่อให้มะละกอต้านทานโรคไวรัสใบด่างวงแหวนได้
มายาภาพเรื่องจีเอ็มโอปลอดภัย
ศาสตราจารย์ เชลดอน คริมสกี้ (Sheldon Krimsky) อาจารย์พิเศษด้านมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ และด้านสาธารณสุข และการแพทย์ชุมชน ในโรงเรียนการแพทย์ Tufts University และมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารด้านวิทยาศาสตร์และสำนักพิมพ์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ จำนวนมาก เพิ่งตีพิมพ์บทความขนาดยาวเรื่อง “An Illusory Consensus behind GMO Health Assessment” เมื่อเร็วๆนี้ (สิงหาคม 2558) เพื่อจะบอกว่าข้อสรุปว่าจีเอ็มโอปลอดภัย "เป็นมายาภาพ-เหลวไหล"
- 1
- 2